ฉบับที่: 1/2562

วารสารวิจัยสังคม ปีที่ 42 ฉบับที่ 1

บทความในวารสารวิจัยสังคมฉบับนี้ถูกร้อยเรียงเข้าด้วยกันภายใต้แนวคิด หลักเรื่องการเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน (Sustainability Transition): ปฏิบัติการ ความรู้ และกระบวนการนโยบาย ซึ่งเป็นธีมหลักในการจัดงานสัมมนา วิชาการประจำปี 2561 ของสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทั้งนี้ การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืนนั้นจำเป็นต้องอาศัยการเปลี่ยนแปลงจาก จุดเล็ก ๆ ที่เกิดขึ้นในทุกระดับของสังคมอย่างต่อเนื่อง จึงจะนำพาสังคม ให้ก้าวข้ามไปสู่ขั้นถัดไปของการพัฒนาได้ โดยในระหว่างทางนั้น จะมีวิกฤต (crisis) เป็นตัวจุดชนวนให้เกิดการลุกขึ้นมาหาวิถีทางหรือนวัตกรรมในการแก้ไข ปัญหาอันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในที่สุด

– บทความพิเศษเรื่อง “การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน: ข้อคิดเพื่อการเปลี่ยนแปลง” โดย ฉันทนา บรรพศิริโชติ หวันแก้ว
– บทความเรื่อง “การพัฒนา “ผลิตภัณฑ์ชุมชน” เพื่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน: ข้อสังเกตจากงานวิจัยการท่องเที่ยวเกษตรลานตากฟ้า-คลองโยง จังหวัดนครปฐม” โดย นฤมล อรุโณทัย และอุษา โคตรศรีเพชร
– บทความเรื่อง “ฝ่าข้าม ความเหลื่อมล้ำด้วยกระบวนการสร้างความรู้ร่วม: การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน” โดย สมพร เพ็งค่ำ และเขมวไล ธีรสุวรรณจักร
– บทความเรื่อง “กลยุทธ์การจัดการแบบเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนบนฐานวัฒนธรรมผู้ไทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” โดย นพพล อัคฮาด อัยรวี วีระพันธ์พงศ์ และฐาปนีย์ เวสารัชเวศย์
– บทความเรื่อง “จากป่าชุมชนสู่ป่าพลเมือง: บทเรียนและยุทธศาสตร์การเปลี่ยนผ่านการจัดการป่าสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดย กฤษฎา บุญชัย
– บทความเรื่อง “นโยบายน้ำในช่วงเปลี่ยนผ่าน” โดย แมน ปุโรทกานนท์
– บทปริทัศน์หนังสือ เรื่อง “An Introduction to Science and Technology Studies, 2nd Edition” โดย ปกรณ์ เลิศเสถียรชัย

บทบรรณาธิการ

ผู้เขียน: มนทกานต์ ฉิมมามี

บทความพิเศษ “การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน: ข้อคิดเพื่อการเปลี่ยนแปลง”

ผู้เขียน: ฉันทนา บรรพศิริโชติ หวันแก้ว

บทความเรื่อง “การพัฒนา “ผลิตภัณฑ์ชุมชน” เพื่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน: ข้อสังเกตจากงานวิจัยการท่องเที่ยวเกษตรลานตากฟ้า-คลองโยง จังหวัดนครปฐม”

ผู้เขียน: นฤมล อรุโณทัย และอุษา โคตรศรีเพชร

บทความเรื่อง “ฝ่าข้าม ความเหลื่อมล้ำด้วยกระบวนการสร้างความรู้ร่วม: การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน”

ผู้เขียน: สมพร เพ็งค่ำ และเขมวไล ธีรสุวรรณจักร

บทความเรื่อง “กลยุทธ์การจัดการแบบเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนบนฐานวัฒนธรรมผู้ไทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”

ผู้เขียน: นพพล อัคฮาด อัยรวี วีระพันธ์พงศ์ และฐาปนีย์ เวสารัชเวศย์

บทความเรื่อง “จากป่าชุมชนสู่ป่าพลเมือง: บทเรียนและยุทธศาสตร์การเปลี่ยนผ่านการจัดการป่าสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน”

ผู้เขียน: กฤษฎา บุญชัย

บทความเรื่อง “นโยบายน้ำในช่วงเปลี่ยนผ่าน”

ผู้เขียน: แมน ปุโรทกานนท์

บทปริทัศน์หนังสือ เรื่อง An Introduction to Science and Technology Studies, 2nd Edition

ผู้เขียน: ปกรณ์ เลิศเสถียรชัย