ฉบับที่: 1/2563

วารสารวิจัยสังคม ปีที่ 43 ฉบับที่ 1

บทความในวารสารฉบับนี้มีหลากหลาย ทั้งที่เป็นบทความพิเศษที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างศาสตร์ความรู้ทางมานุษยวิทยา ร่วมกับหลักสิทธิมนุษยชนว่าสามารถนำไปสู่การปฏิบัติอย่างการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืนได้อย่างไรบทความวิจัยที่มีการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณโดยมีการนำเสนอประเด็นทั้งในระดับประเทศ อาทิ คนจนเมือง และผู้สูงอายุ และประเด็นข้ามพรมแดน อาทิ การกลายเป็นเมืองของสลัมย่างกุ้ง การลงทุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนผ่านการทำไร่กล้วยหอมขนาดใหญ่ และประชาธิปไตยในประเทศเกาหลี รวมทั้งบทปริทัศน์หนังสือ ที่พยายามนำเสนอข้อถกเถียงแนวความคิดหลัง
มนุษยนิยม (posthumanism)

– บทความพิเศษเรื่อง “มานุษยวิทยา สิทธิมนุษยชน และการพัฒนาอย่างยั่งยืน” โดย อมรา พงศาพิชญ์
– บทความวิจัยเรื่อง “ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ แบบขูดรีดผลประโยชน์ระหว่างผู้อยู่อาศัยในชุมชนผู้มีรายได้น้อย ริมคลองลาดพร้าวและคนเมือง” โดย อมต จันทรังษี
– บทความวิจัยเรื่อง “สลัมในย่างกุ้ง: การกลายเป็นเมือง และความเปลี่ยนแปลง” โดย อนรรฆ พิทักษ์ธานิน
– บทความวิจัยเรื่อง “สถานการณ์ครอบครัวและแนวทางการดำเนินงานสร้างความเข้มแข็งของกลไกหนุนเสริมเพื่อสร้างครอบครัว สูงวัยคุณภาพ กรณีศึกษาชุมชนเมืองศรีไค” โดย สุรีย์ ธรรมิกบวร, ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ และสุทธิพงศ์ เพิ่มพูล
– บทความวิจัยเรื่อง “ย้อนพินิจการเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาธิปไตยในเกาหลีใต้: ปฏิสัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์ระหว่างชนชั้นนำ ภาคประชาสังคม และตัวแสดงจากภายนอก” โดย นิธิ เนื่องจำนงค์
– บทความวิจัยเรื่อง “การขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจจากสาธารณรัฐประชาชนจีนและผลกระทบที่เกิดขึ้น: กรณีศึกษาการทำไร่กล้วยหอมขนาดใหญ่ในจังหวัดเชียงราย” โดย นฤมิต หิญชีระนันทน์,สมาน ชินเบญจพล และสุเชน เลิศวีระสวัสดิ์
– บทปริทัศน์หนังสือ เรื่อง “The (Re) Definition of Human Subjects in the Post – Apocalyptic Dystopia of Clone Objects” โดย ปรีชาญา ชาวกัณหา


สารบัญ

ผู้เขียน: บทบรรณาธิการ

บทบรรณาธิการ

ผู้เขียน: บทบรรณาธิการ

บทความพิเศษเรื่อง “มานุษยวิทยา สิทธิมนุษยชน และการพัฒนาอย่างยั่งยืน”

ผู้เขียน: อมรา พงศาพิชญ์

บทความวิจัยเรื่อง “ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ แบบขูดรีดผลประโยชน์ระหว่างผู้อยู่อาศัยในชุมชนผู้มีรายได้น้อย ริมคลองลาดพร้าวและคนเมือง”

ผู้เขียน: อมต จันทรังษี

บทความวิจัยเรื่อง “สลัมในย่างกุ้ง: การกลายเป็นเมือง และความเปลี่ยนแปลง”

ผู้เขียน: อนรรฆ พิทักษ์ธานิน

บทความวิจัยเรื่อง “สถานการณ์ครอบครัวและแนวทางการดำเนินงานสร้างความเข้มแข็งของกลไกหนุนเสริมเพื่อสร้างครอบครัว สูงวัยคุณภาพ กรณีศึกษาชุมชนเมืองศรีไค”

ผู้เขียน: สุรีย์ ธรรมิกบวร, ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ และสุทธิพงศ์ เพิ่มพูล

บทความวิจัยเรื่อง “ย้อนพินิจการเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาธิปไตยในเกาหลีใต้: ปฏิสัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์ระหว่างชนชั้นนำ ภาคประชาสังคม และตัวแสดงจากภายนอก”

ผู้เขียน: นิธิ เนื่องจำนงค์

บทความวิจัยเรื่อง “การขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจจากสาธารณรัฐประชาชนจีนและผลกระทบที่เกิดขึ้น: กรณีศึกษาการ ทำไร่กล้วยหอมขนาดใหญ่ในจังหวัดเชียงราย”

ผู้เขียน: นฤมิต หิญชีระนันทน์,สมาน ชินเบญจพล และสุเชน เลิศวีระสวัสดิ์

บทปริทัศน์หนังสือ เรื่อง “The (Re) Definition of Human Subjects in the Post - Apocalyptic Dystopia of Clone Objects”

ผู้เขียน: ปรีชาญา ชาวกัณหา