บทบรรณาธิการ ถือเป็นหน้าแรกของวารสาร ทำหน้าที่ในการนำทาง (guide) ผู้อ่านให้เห็นภาพรวมของบทความในวารสารฉบับนี้ทั้งหมด วารสารวิจัยสังคม ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 มีบทความ 6 บท และบทปริทัศน์หนังสือ 1 เล่ม หากพิจารณาจากเนื้อหาบทความจะเห็นได้ว่ามีความหลากหลาย แต่บทความ ที่เลือกมาครั้งนี้มีจุดร่วมที่สำคัญคือ การใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ดังจะเห็นได้ว่า 5 ใน 6 บทความเน้นกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเฉพาะแนวทางชาติพันธุ์วรรณนา รวมไปถึงบทปริทัศน์หนังสือที่มาจากการวิจัยเชิงคุณภาพเช่นกัน ส่วนบทความสุดท้ายเป็นการใช้วิธีวิจัยแบบผสม (mixed method) ทั้งกระบวนการวิจัยเชิงปริมาณเพื่อเก็บข้อมูลแบบแผนปรากฏารณ์และใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่ออธิบายให้เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงจากผลการวิจัยเชิงปริมาณเพื่อสะท้อนให้เห็นสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในสังคม ดังนั้น ระเบียบวิธีวิจัย จึงกลายเป็นหัวใจสำคัญของวารสารฉบับนี้
– บทความเรื่อง “Women Crossing the Boundaries: An Exploration the Coming out of the Closet of Midlife Women” โดย Panapa Chintaradeja
– บทความเรื่อง “เมื่อฉันอยากเป็นสาวเซ็กซี่: บทบาทของความโน้มเอียงทางอุปนิสัยบนสนามนางแบบสายเซ็กซี่” โดย ทัศฆัมภรณ์ ทองกิ้ม ภัทรพรรณ ทำดี และอรนัดดา ชิณศรี
– บทความเรื่อง “พฤติกรรมและผลกระทบเชิงบวกจากการเล่นเกมส์: กรณีศึกษา Wangan Midnight Maximum Tune” โดย ศุภณัฐ เสริญวงศ์สัตย์ และศยามล เจริญรัตน์
– บทความเรื่อง “โรคจิตเวชของกลุ่มประชากรคนไร้บ้านในเขตกรุงเทพมหานคร” โดย ถิรนันท์ ช่วยมิ่ง
– บทความเรื่อง “ประสบการณ์และการต้านทานต่อการถูกจับบทบรรณาธิการจ้องในงานการดูแลเด็กของครูและผู้ดูแลเด็กปฐมวัย” โดย ภัทรพรรณ ทำดี และวัชรี บุญวิทยา
– บทความเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับหาบเร่แผงลอยในย่านสีลม” โดย บวร ทรัพย์สิงห์ และวิชยา โกมินทร์
– บทปริทัศน์หนังสือเรื่อง “A Meeting of Masks: Status, Power and Hierarchy in Bangkok” ของ Sophorntavy Vorng (ผู้เขียน) ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี 2017 โดย สุรางค์รัตน์ จำเนียรพล (ผู้วิจารณ์)
ฉบับที่: 2/2562
บทบรรณาธิการ
ผู้เขียน: กองบรรณาธิการ
บทความเรื่อง "Women Crossing the Boundaries: An Exploration the Coming out of the Closet of Midlife Women"
ผู้เขียน: Panapa Chintaradeja
บทความเรื่อง "เมื่อฉันอยากเป็นสาวเซ็กซี่: บทบาทของความโน้มเอียงทางอุปนิสัยบนสนามนางแบบสายเซ็กซี่"
ผู้เขียน: ทัศฆัมภรณ์ ทองกิ้ม ภัทรพรรณ ทำดี และอรนัดดา ชิณศรี
บทความเรื่อง "พฤติกรรมและผลกระทบเชิงบวกจากการเล่นเกมส์: กรณีศึกษา Wangan Midnight Maximum Tune"
ผู้เขียน: ศุภณัฐ เสริญวงศ์สัตย์ และศยามล เจริญรัตน์
บทความเรื่อง "โรคจิตเวชของกลุ่มประชากรคนไร้บ้านในเขตกรุงเทพมหานคร"
ผู้เขียน: ถิรนันท์ ช่วยมิ่ง
บทความเรื่อง "ประสบการณ์และการต้านทานต่อการถูกจับบทบรรณาธิการจ้องในงานการดูแลเด็กของครูและผู้ดูแลเด็กปฐมวัย"
ผู้เขียน: ภัทรพรรณ ทำดี และวัชรี บุญวิทยา
บทความเรื่อง "การเปลี่ยนแปลงธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับหาบเร่แผงลอยในย่านสีลม"
ผู้เขียน: บวร ทรัพย์สิงห์ และวิชยา โกมินทร์
บทปริทัศน์หนังสือเรื่อง "A Meeting of Masks: Status, Power and Hierarchy in Bangkok ของ Sophorntavy Vorng (ผู้เขียน) ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี 2017
ผู้เขียน: สุรางค์รัตน์ จำเนียรพล (ผู้วิจารณ์)