The Twenty-First Century: การก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ของโลก ในปัจจุบันหมายถึงการที่เรากำลังก้าวเข้าสู่ความเปลี่ยนผ่านของช่วงเวลา จากศตวรรษที่ 20 ก้าวเข้าสู่ ศตวรรษที่ 21 นั้น จะเห็นว่ามีปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นมากมายนับตั้งแต่การเกิดรัฐชาติแบบใหม่ เกิดการขยายพรมแดนที่เปิดกว้างกว่าแค่พรมแดนทางภูมิศาสตร์ เกิดการผนวกรวมและแบ่งแยกดินแดนแห่งรัฐชาติหรือรัฐอธิปไตยอย่างกว้างขวาง เกิดการปรับเปลี่ยนของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ก้าวกระโดด โดยเฉพาะความก้าวหน้าทางการแพทย์ เกิดการข้ามของศาสตร์ ที่พรมแดนความรู้กำลังไม่ถูกปิดกั้น มนุษย์ก้าวข้ามพรมแดนแบบเดิมๆ และกำลังทำให้ความเหลื่อมล้ำเกิดมากขึ้นไปด้วย การก้าวไปแบบกระโดดของศาสตร์บางส่วนก็ทิ้งบางส่วนที่ดูไม่คุ้มค่าต่อการดูแลและลงทุน ดูเหมือนศีลธรรมและความเอื้ออาทรกำลังสูญหายไปท่ามกลางความเป็นเหตุและผลทางวิทยาศาสตร์
ฉบับที่: 2/2559
บทบรรณาธิการ “Inclusive Society”
ผู้เขียน: ศยามล เจริญรัตน์, มนทกานต์ ฉิมมามี
บทความพิเศษ โครงการหลวง รอยต่อระหว่างรัฐกับภาคประชาสังคม
ผู้เขียน: อมรา พงศาพิชญ์
“ให้คุณค่า” “สนับสนุน” แต่อย่า “ตีตรา”หนทางสู่การสร้างสังคมที่เอื้อต่อ “ความเป็นแม่”
ผู้เขียน: ภัทรพรรณ ทำดี
บูรณาการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อหาพื้นที่เหมาะสมในการปลูกผักเศรษฐกิจ
ผู้เขียน: ธีรเวทย์ ลิมโกมลวิลาศ
อันดามัน ความรู้ท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อมเชิงวัฒนธรรม การเมืองเรื่องความรู้ และความเป็นธรรมทางสังคมด้านสุขภาวะ
ผู้เขียน: ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ
คุณภาพชีวิตในการทำงาน แรงงานต่างด้าวที่ทำงานรับใช้ในบ้าน
ผู้เขียน: กนกวรรณ จิตรโรจนรักษ์, มณฑล สรไกรกิติกูล
การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับบุตรแรงงานต่างด้าว
ผู้เขียน: รัตนา จักกะพา, รัชฎาพร เกตานนท์ แนวแห่งธรรม
ภูมิหลัง ภาพลักษณ์และการนิยามความหมายของนักศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน กรณีศึกษา
ผู้เขียน: ปริยกร วิชัย
ปริทัศน์หนังสือ Book Review The Blue Sweater Bridging the Gap Between Rich and Poor in an Interconnected World.
ผู้เขียน: จิตติพร ฉายแสงมงคล