ฉบับที่: 2/2557

วารสารวิจัยสังคม ปีที่ 37 ฉบับที่ 2

การแบ่งแยกสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เกิดขึ้นตั้งแต่ต้น ศตวรรษที่ 19 (Calhoun, 2004: 956-957) ถ้าแบ่งอย่างหยาบๆ วิชาหลักของสังคมศาสตร์ได้แก่ สังคมวิทยา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ในระยะแรก แต่ละวิชามีอาณาบริเวณของตนเอง รัฐศาสตร์ให้ความสนใจ
กับอาณาบริเวณของรัฐ (State) ในความหมายของการเมืองการปกครองกับพรมแดนของวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ให้ความสำคัญกับพรมแดนของตลาด (Market) และวิชาสังคมวิทยาให้ความสำคัญกับพรมแดนของภาคประชาสังคม แต่ในระยะหลังๆ เส้นแบ่งของแต่ละสาขาวิชาเบาบางลงไป หรืออาจอีกนัยหนึ่งได้ว่ามีการซ้อนทับระหว่างสาขาวิชากันมากขึ้น (Wallerstein, 2000) ดังนั้น สังคมศาสตร์ที่กล่าวถึงในวารสารวิจัยสังคมฉบับนี้ จึงเกินความครอบคลุมหลายสาขาวิชา ทั้งสาขาวิชารัฐศาสตร์ การพัฒนา ประชากรศาสตร์และเศรษฐศาสตร์

การศึกษาวิจัยสังคมไทย: ปรัชญาและวิธิวิจัยทางสังคมศาสตร์ในโลกที่เหลื่อมล้ำ

ผู้เขียน: สุริชัย หวันแก้ว

ขบวนการมวลชนเสื้อแดงกับการปฎิวัติทางสังคมที่ไม่ถึงจุดสิ้นสุด

ผู้เขียน: เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์

สุขภาพพระสงฆ์ในบริบทชุมชนอุตสาหกรรม

ผู้เขียน: วัชรินทร์ ออละออ

ปัญญาชนคาทอลิกกับการพัฒนาสังคมไทย

ผู้เขียน: จิรภา พฤกษ์พาดี และวีระ สมบูรณ์

ทุนทางสังคมกับการพัฒนาทุนมนุษย์ของแรงงานข้ามชาติ พม่า ลาว และกัมพูชา หลังย้ายถิ่นมาในประเทศไทย

ผู้เขียน: มนทกานต์ ฉิมมามี และพัชราวลัย วงศ์บุญสิน

การใช้ประโยชน์ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการบริการของระบบนิเวศ พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยสามหมอ

ผู้เขียน: จตุพร เทียรมา, เดชรัต สุขกำเนิด และปิติ กันตังกุล

ปริทัศน์งานศึกษาความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมในสังคมไทย

ผู้เขียน: อนรรฆ พิทักษ์ธานิน

Integrative Thought for Making Better Society

ผู้เขียน: วิศวะ สิทธิอิสระ